Tuesday, March 3, 2009

The Life and Times of ฃ

Wikipedia can be quite the timesink for me. The Thai language version is proving just as bad.

While looking at the pages for various languages, I stumbled upon the one for ฃ, which is one of Thai's obsolete characters. It's wikipedia page is mammoth. While most ตัวอักษรไทย get three lines, ฃ gets its own novella.

I can read some of it, but several sentences in the first paragraph stymied me and it would take me a long while to work through the entire thing.

Here, at least, are the sections:
  • 1. History of the usage of ฃ
  • 1.1.Sukhothai period
  • 1.2. Ayuthaya and Thonburi periods
  • 1.3. Rattanakosin period
  • 2. ฃ in northern dialect (Lassa)
  • 3. ฃ compared with "goot" (क्ष) in Sanskrit
  • 4. The disappearance of ฃ
  • 5. ฃ Today
Oh man the suspense is killing me. What happened to poor ฃ? Will the perps be brought to justice?
Here is section 4, and my attempt at a translation.

นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาประวัติความเป็นมาของพยัญชนะ ฃ และสันนิษฐานว่า ฃ นั้นเดิมมีฐานเสียงที่แตกต่างจากฐานเสียงของ ข โดยมีลักษณะเสียงเป็น พยัญชนะลิ้นไก่อโฆษะ ซึ่งพบได้ในภาษาต่าง ๆ ในกลุ่มภาษาไท และภาษาอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ เสียง ฃ และ ฅ ในสมัยสุโขทัยนั้นออกเสียงลึกกว่าเสียง ข (ไข่) และ ค (ควาย) เวลาที่ออกเสียง ข (ไข่) และ ค (ควาย) โคนลิ้นแตะที่เพดานอ่อน ส่วน ฃ และ ฅ นั้น โคนลิ้นจะแตะที่ส่วนที่ถัดเพดานอ่อนเข้าไปอีก ซึ่งในปัจจุบันไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนี้จากงานค้นคว้าของนักวิชาการ 2 คน คือ Jean Burney กับ ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ซึ่งเปรียบเทียบกับภาษาลาวและภาษาไทถิ่นต่าง ๆ แล้วสรุปว่า ฃ กับ ฅ เป็นคนละเสียงกับ ข (ไข่) และ ค (ควาย)[11]

Linguists studied the history of ฃ and surmise that ฃ formerly had a (original sound?) different from the sound of ข, by being an unvoiced uvular consonant, which was found in other languages in the Tai family, and other languages. In other words, ฃ and ฅ were pronounced (deeper?) than ข and ค during the Sukhothai era. When pronouncing ข and ค, the base of the tongue touches the (soft palette?) As for ฃ and ฅ, the base of the tongue will touch the (front?) part of the (soft palette?) (repeatedly?). Today, this sound doesn't exist in standard Thai. Except from the research of two scholars, Jean Burney and ยอร์ช เซเดส์, who drew a comparison between Lao and various Tai dialects and summarized that ฃ and ฅ were different sounds from ข and ค.

ฐานเสียง- Just one of many linguistic terms I can't possibly translate at this point.
ลิ้นไก่ Uvula, literally "Chicken tongue"
กล่าวอีกอย่างหนึ่ง In other words

This is going well.

เป็นที่น่าสังเกตว่า ฃ มีใช้ในตำแหน่งที่เป็นพยัญชนะต้น ไม่ปรากฏในตำแหน่งตัวสะกดเลย นอกจากนี้ยังมีข้อที่น่าสังเกตว่าคำว่า "ขวด" ซึ่งเป็นชื่อของพยัญชนะตัวนี้ ก็ไม่เคยเขียนเป็น "ฃวด" มาก่อนเลย[35]

It is notable that ฃ is ranked as an upper-class consonant. It is never seen as a final consonant. Besides this, a notable point is that the word ขวด, which is the name of the consonant, was never written as ฃวด before.

ฃ และ ฅ เริ่มจะหายไปจากภาษาปัจจุบันนั้น เกิดจากลักษณะธรรมชาติของภาษาที่ว่าเสียงใดเป็นเสียงโดดเดี่ยว ไม่มีความสัมพันธ์กับพยัญชนะใดเป็นพิเศษจะเปลี่ยนแปลงเสียง หรือสูญเสียเสียงได้เร็วกว่าพยัญชนะที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น ยกตัวอย่าง เช่น ป ต จ ก อ มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น เพราะเป็นเสียงก้อง ไม่มีลม เนื่องจาก ฃ และ ฅ เป็นเสียงโดดเดี่ยว เมื่อเวลาผ่านไป ฐานที่เกิดขึ้นจาก ฃ และ ฅ จะเขยิบขึ้นมากลายเป็น ข และ ค ตามลำดับ[36]

(This paragraph has a lot of jargon and I've put words I don't fully understand in quotes.)
ฃ and ฅ began to disappear from the contemporary language. Due to the natural characteristic of language that any sound is a "single sound", there is no "relationship" between any "special" consonants that can change or lose sounds faster than consonants that have a "secure" "relationship". Examples like ป ต จ ก อ have a secure "relationship" because they are "loud" and unaspirated (lit. "have no breath"). Because ฃ and ฅ are single "sounds", as time passed, the "base" that came from ฃ and ฅ shifted to resemble ข and ค, respectively.

ส่วนสาเหตุที่ทำให้เลิกใช้ ฃ (ขวด) และ ฅ (คน) ไปอย่างสิ้นเชิงทีเดียวเลยนั้น คงเนื่องมาจากเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยยุคแรกในปี พ.ศ. 2434 (สมัยรัชกาลที่ 5) นายเอ็ดวิน ฮันเตอร์ แมคฟาร์แลนด์ ได้ดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดมาจากแบบของโรงงานสมิทพรีเมียร์ แต่มีแป้นพิมพ์ตัวอักษรไม่เพียงพอ และให้เหตุผลอีกว่า "เป็นพยัญชนะที่ไม่ค่อยได้ใช้ และสามารถทดแทนด้วยพยัญชนะตัวอื่นได้"[37] จึงต้องตัดพยัญชนะออก 2 ตัว คือ ฃ และ ฅ[25] ซึ่งศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ได้เขียนเล่าไว้ในหนังสือ "ตำนานอักษรไทย"[38]

As for the reason for the absolute ceased usage of ฃ and ฅ; It may be due to the Thai-language typewriter, which appeared in 1891. Mr. Edwin Hunter McFarland modified a Smith-Premiere typewriter, but the keyboard was not adequate, and he gave explained that "they are characters which are not often used and which can be replaced with other characters." So he had to remove two, ฃ and ฅ, which (some professor dude) wrote about in the book "History of the Thai Alphabet."

So. Mystery solved. It was Edwin Hunter McFarland. In the conservatory. With a typewriter.

No comments:

Post a Comment